วันจันทร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2554

นี่คือหมากกะทกรก

11.  หมากกระถกรก
ชื่อท้องถิ่น
: หมากกระถกรก  Passiflora, Water Lemon
ชื่อสามัญ
:  เสาวรส
ชื่อวิทยาศาสร์     Passiflora Laurifolia Linn.
ตระกูล               PASSIFLORACEAE
ลักษณะทั่วไป  ต้น        เสวรสเป็นไม้เถาเลื้อยขนาดกลาง เถามีสีเขียวเข้มและเมื่อแก่เถาจะเป็นสีน้ำตาล
                 มีมือเกาะออกตามซอกใบ

การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์  ใช้เป็นยาระบาย

นี่คือบักเค็ง

9.  หมากเค็ง
ชื่อท้องถิ่น:หมากเค็ง นางดำ หยี
ชื่อสามัญ:เขลง
ชื่อวิทยาศาสตร์:
Dialium cochinchinense pierre
ชื่อวงศ์: LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:ผลดิบต้มน้ำดื่มแก้ร้อนในผลสุกและดิบรับประทานได้
 เปลือกและแก่นย้อมสีให้สีน้ำตาลอมแดง
เนื้อไม้ใช้ก่อสร้างลำต้นใช้ทำเขียงเปลือกนำไปต้มย้อมแหหรือเปลือกนำมาต้มเคี่ยวใช้ทาแผล(จากการสัมภาษณ์และการจัดประชุมเสวนาผู้นำชุมชน)

http://www.padongnongiad.org/th/index.php?option=com_content&view=article&id=110:2009-12-06-04-30-11&catid=34:2009-11-22-09-30-43&Itemid=11

นี่คือบักหวดข่า

8. หมากหวดข่า
ชื่อทั่วไป หว้า
ชื่อสามัญ Bo Tree, Sacred Fig Tree, Pipal Tree, peepul tree
ชื่อวิทยาศาสตรSyzygium cumini (L.) Skeels

วงศ์
BORAGINACEAE
ชื่ออื่นๆ หว้า, ห้าขี้แพะ
ถิ่นกำเนิด จากอินเดียจนถึงเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบทั่วไปตามป่าดิบชื้นและป่าผลัดใบ
ประเภท
ไม้ยืนต้น
ประโยชน์ เปลือกต้น ต้มน้ำดื่มแก้บิด อมแก้ปากเปื่อย

เนื้อไม้ ใช้ทำสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ในร่ม
ผลดิบ แก้ท้องเสีย ผลสุก รับประทานได้ ใช้ทำเครื่องดื่ม มีรสเปรี้ยวอมฝาด สามารถนำไปทำน้ำผลไม้ ไวน์เป็นเครื่องดื่มที่ให้สีม่วงกินแก้ท้องร่วงและบิด
เมล็ด มีสารช่วยลดน้ำตาลในเลือด แก้ท้องเสีย ถอนพิษจากเมล็ดแสลงใจ



http://www.esanclick.com/news.php?No=03766

นี่คือบักส้มมอ

7.  บักส้มมอ
ชื่อท้องถิ่น:หมากส้มมอ
ชื่อสามัญ:สมอไทย

ชื่อวิทยาศาสตร์: Terminalia chebula Retz. var. chebula
ชื่อวงศ์: Combretaceae
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:ประโยชน์ เปลือกและผลส้มมอมีรสฝาดจากสารแทนนิน มีสรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ และมีวิตามินซีสูง หรือใช้รากเข้าตำรับยารักษาริดสีดวงทวาร

นี่คือบักผีผ่วน

6.  บักผีผ่วน
ชื่อท้องถิ่น:หมากผีผ่วน
ชื่อสามัญ:นมแมว(ภาษากลาง) นมวัว (พิษณุโลก กระบี่) พีพวน (อุดร) บุหงาใหญ่(ภาคเหนือ)
ชื่อวิทยาศาสตร์: Uvaria rufa Bl.
ชื่อวงศ์: Annonaceae
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้เถา
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:แก่นและราก ต้มดื่ม แก้ไข้ซ้ำ ไข้กลับ เนื่องจากกินของแสลง ราก แก้ผอมแห้งแรงน้อย สำหรับสตรี ที่อยู่ไฟไม่ได้หลังคลอดบุตรและช่วยบำรุงน้ำนม ผล ตำผสมกับน้ำ ทาแก้เม็ดผดผื่นคัน



http://www.esanclick.com/newses.php?No=2893

นี่คือบักบก

5.  บักบก
ชื่อท้องถิ่น:บก กะบก หมากบก
ชื่อสามัญ:กระบก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Irvingia malayana Oliv.ex A.W.Benn.
ชื่อวงศ์: IRVINGIACEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:เมล็ดใช้เป็นยาพื้นบ้านยาบำรุงข้อ บำรุงกระดูก แก้เส้นเอ็นพิการ ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย แก้ข้อขัด เนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้าง

http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=7988

นี่คือบักค้อ

4. หมากค้อ
ชื่อท้องถิ่น:หมากค้อ

ชื่อสามัญ:ตะคร้อ
ชื่อวิทยาศาสตร์:
Schleichera oleosa (Lour.) Oken
ชื่อวงศ์: SAPINDACEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์:เนื้อไม้ใช้ในอุตสาหกรรมไม้ ทำฟืนและถ่าน เปลือก ใช้ย้อมสี ใบอ่อน กินเป็นผัก

http://www.bedo.or.th/lcdb/biodiversity/view.aspx?id=8965

นี่คือบักขามป้อม

3.  บักขามป้อมชื่อท้องถิ่น: หมากขามป้อม
ชื่อสามัญ:  -
ชื่อวิทยาศาสตร์: Indian gooseberry
ชื่อวงศ์: EUPHORBIACEAE
ลักษณะวิสัย/ประเภท:ไม้ยืนต้น
การใช้ประโยชน์/ส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์
:สรรพคุณมะขามป้อมตามตำรับยาไทยสามารถแก้หวัด ผลมะขามป้อมมีสรรพคุณแก้หวัด แก้ไอได้ดี

ที่มาจาก http://biogang.net/content_detail.php?menu=biodiversity&uid=10915&id=119370

วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554

นี่คือหมากต้องแล่ง

2. หมากต้องแล่ง
ชื่อพื้นบ้านอีสาน : ต้องแล่ง

ชื่อทั่วไป : นมน้อย
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Polyalthia evecta (Pierre) Finet &Gagnep.
วงศ์ : Annonaceae
ประเภท : ไม้พุ่ม
ประโยชน์ ราก ต้มน้ำดื่มแก้กล้ามเนื้อท้องเกร็ง บำรุงน้ำนม

ต่อจากนี้ไป MyOayTy ขอนำเสนอเกี่ยวกับ ผลไม้อีสาน

1.หมากกี่โก่ย หรือ องุ่นป่า
ชื่อสามัญ Common name : องุ่นป่า , เถาเปรี้ยว
ชื่อวิทยาศาสตร์
Sciencetific name : Ampelocissus martinii Planch.
ชื่อวงศ์
Family name: VITACEAE (VITIDACEAE)
 ชื่ออื่น Other name: เครืออีโกย (อีสาน) กุ่ย (อุบล) เถาวัลย์ขน (ราชบุรี) ส้มกุ้ง (ประจวบฯ) ตะเปียงจู องุ่นป่า (สุรินทร์)
 ลักษณะทั่วไป : ไม้เลื้อยล้มลุก
ประโยชน์
: ทางอาหาร ยอดอ่อน รับประทานเป็นผักสดมีรสหวานอมเปรี้ยว

เกี่ยวกับ =MyOayTy=

ชื่อทัศวรรณ   บุตรทุมพันธ์
เพื่อนๆ ชอบเรียก  อาย
มีความสนใจทางด้านของผลไม้อีสานบ้านเฮา
บล็อกนี้ได้ทำเกี่ยวกับข้อมูลของผลไม้อีสานขึ้นเพื่อที่จะอยากเผยแผ่
ให้กับบุคคลที่สนใจที่อยากจะศึกษาค้นคว้า เพราะดิฉันคิดว่าผลไม้อีสานบ้านเฮา
มีหลายชนิดที่มีสรรพคุณทางด้านยาสมุนไพรหลายชนิด อีกทั้งยังมีประโยชน์มากมาย
ที่หลายคนไม่ให้ความสำคัญกับผลไม้อีสานบ้านเฮา....
และสุดท้ายอยากให้ทุกคนที่จะให้ความสำคัญเกี่ยวกับผลไม้อีสานบ้านเฮาแหน่เด้อจ้า....